ขั้นตอนการออกแบบระบบสปริงเกอร์น้ำดับเพลิง

[ Draft ]

หลักการการออกแบบ ระบบสปริงเกอร์น้ำดับเพลิง โดยพื้นฐาน จะออกแบบโดยการ คำนวณความหนาแน่นต่อพื้นที่เพลิงไหม้โดยประเมิน หรือที่เรียกว่า Control mode / Design area (CMDA.) 

โดยมีขั้นตอนการออกแบบโดยคร่าวดังนี้

    1. ประเมิน Occupancy area หรือ ระดับความอันตราย ของพื้นที่ครอบครอง

    2. กำหนดค่า Density และ Design area จาก ตารางประเมิน Occupancy area

     3.  ทำการคำนวณอัตราการไหลรวม โดยนำ Density x Design area (ถ้าพื้นที่จริงน้อยกว่าในตารางให้คำนวณตามพื้นที่จริง)

Note. Design area อาจเพิ่มขึ้นตามเงื่อนไขเพิ่มเติมใน NFPA.

4. นำอัตราการไหลรวมมากำหนดขนาด Alarm valve โดยสามารถดูจาก Catalog alarm valve ในแต่ละยี่ห้อ

    5. ประเมิน Maximum area operate ของ หัวสปริงเกอร์ ตาม Occupancy area

    6. คำนวณ อัตราการไหลของแต่ละหัวสปริงเกอร์  โดยใช้สูตร

                K = K-Factor sprinkler

                Q = อัตราการไหล

                P = แรงดันทำงาน (แรงดันขั้นต่ำของหัวสปริงเกอร์อยู่ที่ 0.5 bar)

    7. คำนวณ ปริมาณน้ำสำรองโดย เพิ่มอัตราการไหลของ ตู้ Fire hose cabinet ตามตาราง Occupancy area 

    8. วาง Layout หัวสปริงเกอร์ และขนาดท่อ ตาม Pipe schedule ตามตาราง Occupancy area เช่นเดียวกัน (ในรูปตัวอย่าง ordinary hazard)


ตัวอย่าง พื้นที่โรงงานทอผ้าขนาด 50x100 m.

    1. ประเมินพื้นที่ครอบครองเป็น Ordinary hazard Group 2 

    2. Density 8.2 mm/min , Design area 140 sq.m.

    3. 8.2x140 = 1,148 lpm.

    4. กำหนดขนาด Alarm valve = 100 mm.

    5. คำนวณ Area Operate ของหัวสปริงเกอร์ Ordinary hazard

        = 12 sq.m. / 140 เท่ากับคำนวณหัวสปริงเกอร์ = 12 หัว

    6. คำนวณ อัตราการไหลของแต่ละหัวสปริงเกอร์  1,148 / 12 = 95.67 lpm.

    K = Q / sqrt. P = 95.67 / sqrt. 0.5 = 135.29 เลือกใช้ K-8.0 (115)

    7. คำนวณปริมาณน้ำสำรองโดย เพิ่มอัตราการไหลจาก Fire hose cabinet 1 หัว ที่อัตราการไหล 950 lpm.

1,148+950 lpm. x 60 min = 1,258.80 cu.m.

บทความที่ได้รับความนิยม